FAQ
Becthai Bangkok Equipment & Chemical Co., Ltd.
FAQ
A : เทคนิคการทำงานในตู้ปลอดเชื้อ มีดังนี้
ก่อนใช้
- ตรวจกระแสหมุนเวียนของอากาศเผื่อมีสิ่งกีดขวาง โดยทดสอบว่าอากาศถูกดูดเข้า ด้วยการแกว่งกระดาษทิชชูตรงช่องว่างทางเข้าตู้ แล้วตรวจดูว่ากระดาษทิชชูถูกดูดเข้าไปในตู้หรือไม่
- เช็ดข้างในตู้ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ (เอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ หรือโซเดียมไฮโปคลอไรด์ 05 เปอร์เซ็นต์)
- นำอุปกรณ์ที่ต้องใช้เข้าไปในตู้และรอ 5 นาที เพื่อให้ระบบจ่ายลมทำการชำระพื้นที่ในตู้
ระหว่างใช้
- ควรปฏิบัติงานห่างจากตะแกรงหน้าอย่างน้อย 4 นิ้ว
- ทำงานจาก “สะอาดไปสกปรก”
- หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวเข้า-ออกจากตู้อย่างรวดเร็ว เพื่อจะได้ไม่รบกวนกระแสหมุนเวียนของอากาศ
- ถ้าทำสิ่งใดหกในตู้ ควรเช็ดทันที แต่อย่าเปิดประตูตู้
หลังใช้
- เช็ดอุปกรณ์ที่ใช้แล้วและพื้นที่ภายในตู้ให้สะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
- ปิดไฟและเครื่องเป่าอากาศ (หากไม่จำเป็นต้องเปิดทิ้งไว้)
- เปิดไฟ UV หากไม่มีผู้อื่นทำงานอยู่ใกล้ ๆ
A : วิธีการดูแลรักษาตู้บ่มด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในกรณีที่หยุดการใช้งานเป็นเวลานาน มีดังนี้
การปิดเครื่อง
- ปิดสวิตช์เครื่อง และถอดปลั๊กเก็บสายไฟให้เรียบร้อย
- ปิดวาวล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หากเดินท่อแก๊สมาจากที่อื่น ให้ปิดวาวล์ที่ผนัง หรือหากใช้จากถัง ให้ปิดวาวล์หัวถัง
- เทน้ำในถาดให้ความชื้นภายในตู้ทิ้ง และเช็ดให้แห้ง
- หากจะปิดเป็นเวลายาวนาน ให้ถอดแผ่นกรองอากาศออก
- ทำความสะอาดเครื่องทั้งภายในและภายนอกด้วยสบู่อ่อน ชะล้างด้วยน้ำกลั่น แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าไร้ฝุ่น
- ฉีดพ่นเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ ภายในตู้ แล้วปล่อยให้แห้ง
- ปิดประตูให้สนิท
การเปิดเครื่อง
- ทำตามขั้นตอนในคู่มือของเครื่องแต่ละรุ่น
- หากไม่ได้ใช้งานเกิน 6 เดือน ควรเปลี่ยนแผ่นกรองอากาศ
- ทำความสะอาดภายนอกเครื่อง และตรวจดูภายใน หากสกปรกให้เช็ดล้างด้วยน้ำสบู่ ชะด้วยน้ำกลั่น แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าไร้ฝุ่น
- ฉีดพ่นเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ ภายในตู้ แล้วปล่อยให้แห้ง
- หากเครื่องมีระบบฆ่าเชื้อโดยอัตโนมัติ ให้ทำตามคู่มือ
- เมื่อทำความสะอาดเสร็จแล้ว ให้ใส่แผ่นกรอง HEPA อันใหม่
- ตั้งค่าอุณหภูมิและความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ต้องการ แล้วเติมน้ำกลั่นที่ฆ่าเชื้อลงในถาดให้ความชื้น
- กดเปิดระบบ Auto-start (หากมี)
- หลังเปิดเครื่อง 24 ชั่วโมง ให้วัดค่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยเครื่องวัด
- ตรวจความเรียบร้อยอีกครั้ง ขณะนี้เครื่องพร้อมใช้งานแล้ว
A : วิธีการดูแลรักษาตู้บ่มด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในกรณีที่หยุดการใช้งานเป็นเวลานาน มีดังนี้
การปิดเครื่อง
- ปิดสวิตช์เครื่อง และถอดปลั๊กเก็บสายไฟให้เรียบร้อย
- ปิดวาวล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หากเดินท่อแก๊สมาจากที่อื่น ให้ปิดวาวล์ที่ผนัง หรือหากใช้จากถัง ให้ปิดวาวล์หัวถัง
- เทน้ำในถาดให้ความชื้นภายในตู้ทิ้ง และเช็ดให้แห้ง
- หากจะปิดเป็นเวลายาวนาน ให้ถอดแผ่นกรองอากาศออก
- ทำความสะอาดเครื่องทั้งภายในและภายนอกด้วยสบู่อ่อน ชะล้างด้วยน้ำกลั่น แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าไร้ฝุ่น
- ฉีดพ่นเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ ภายในตู้ แล้วปล่อยให้แห้ง
- ปิดประตูให้สนิท
การเปิดเครื่อง
- ทำตามขั้นตอนในคู่มือของเครื่องแต่ละรุ่น
- หากไม่ได้ใช้งานเกิน 6 เดือน ควรเปลี่ยนแผ่นกรองอากาศ
- ทำความสะอาดภายนอกเครื่อง และตรวจดูภายใน หากสกปรกให้เช็ดล้างด้วยน้ำสบู่ ชะด้วยน้ำกลั่น แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าไร้ฝุ่น
- ฉีดพ่นเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ ภายในตู้ แล้วปล่อยให้แห้ง
- หากเครื่องมีระบบฆ่าเชื้อโดยอัตโนมัติ ให้ทำตามคู่มือ
- เมื่อทำความสะอาดเสร็จแล้ว ให้ใส่แผ่นกรอง HEPA อันใหม่
- ตั้งค่าอุณหภูมิและความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ต้องการ แล้วเติมน้ำกลั่นที่ฆ่าเชื้อลงในถาดให้ความชื้น
- กดเปิดระบบ Auto-start (หากมี)
- หลังเปิดเครื่อง 24 ชั่วโมง ให้วัดค่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยเครื่องวัด
- ตรวจความเรียบร้อยอีกครั้ง ขณะนี้เครื่องพร้อมใช้งานแล้ว
A : วิธีการดูแลรักษาตู้บ่มด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในกรณีที่หยุดการใช้งานเป็นเวลานาน มีดังนี้
การปิดเครื่อง
- ปิดสวิตช์เครื่อง และถอดปลั๊กเก็บสายไฟให้เรียบร้อย
- ปิดวาวล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หากเดินท่อแก๊สมาจากที่อื่น ให้ปิดวาวล์ที่ผนัง หรือหากใช้จากถัง ให้ปิดวาวล์หัวถัง
- เทน้ำในถาดให้ความชื้นภายในตู้ทิ้ง และเช็ดให้แห้ง
- หากจะปิดเป็นเวลายาวนาน ให้ถอดแผ่นกรองอากาศออก
- ทำความสะอาดเครื่องทั้งภายในและภายนอกด้วยสบู่อ่อน ชะล้างด้วยน้ำกลั่น แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าไร้ฝุ่น
- ฉีดพ่นเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ ภายในตู้ แล้วปล่อยให้แห้ง
- ปิดประตูให้สนิท
การเปิดเครื่อง
- ทำตามขั้นตอนในคู่มือของเครื่องแต่ละรุ่น
- หากไม่ได้ใช้งานเกิน 6 เดือน ควรเปลี่ยนแผ่นกรองอากาศ
- ทำความสะอาดภายนอกเครื่อง และตรวจดูภายใน หากสกปรกให้เช็ดล้างด้วยน้ำสบู่ ชะด้วยน้ำกลั่น แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าไร้ฝุ่น
- ฉีดพ่นเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ ภายในตู้ แล้วปล่อยให้แห้ง
- หากเครื่องมีระบบฆ่าเชื้อโดยอัตโนมัติ ให้ทำตามคู่มือ
- เมื่อทำความสะอาดเสร็จแล้ว ให้ใส่แผ่นกรอง HEPA อันใหม่
- ตั้งค่าอุณหภูมิและความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ต้องการ แล้วเติมน้ำกลั่นที่ฆ่าเชื้อลงในถาดให้ความชื้น
- กดเปิดระบบ Auto-start (หากมี)
- หลังเปิดเครื่อง 24 ชั่วโมง ให้วัดค่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยเครื่องวัด
- ตรวจความเรียบร้อยอีกครั้ง ขณะนี้เครื่องพร้อมใช้งานแล้ว
A : เทคนิคการทำงานในตู้ปลอดเชื้อ มีดังนี้
ก่อนใช้
- ตรวจกระแสหมุนเวียนของอากาศเผื่อมีสิ่งกีดขวาง โดยทดสอบว่าอากาศถูกดูดเข้า ด้วยการแกว่งกระดาษทิชชูตรงช่องว่างทางเข้าตู้ แล้วตรวจดูว่ากระดาษทิชชูถูกดูดเข้าไปในตู้หรือไม่
- เช็ดข้างในตู้ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ (เอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ หรือโซเดียมไฮโปคลอไรด์ 05 เปอร์เซ็นต์)
- นำอุปกรณ์ที่ต้องใช้เข้าไปในตู้และรอ 5 นาที เพื่อให้ระบบจ่ายลมทำการชำระพื้นที่ในตู้
ระหว่างใช้
- ควรปฏิบัติงานห่างจากตะแกรงหน้าอย่างน้อย 4 นิ้ว
- ทำงานจาก “สะอาดไปสกปรก”
- หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวเข้า-ออกจากตู้อย่างรวดเร็ว เพื่อจะได้ไม่รบกวนกระแสหมุนเวียนของอากาศ
- ถ้าทำสิ่งใดหกในตู้ ควรเช็ดทันที แต่อย่าเปิดประตูตู้
หลังใช้
- เช็ดอุปกรณ์ที่ใช้แล้วและพื้นที่ภายในตู้ให้สะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
- ปิดไฟและเครื่องเป่าอากาศ (หากไม่จำเป็นต้องเปิดทิ้งไว้)
- เปิดไฟ UV หากไม่มีผู้อื่นทำงานอยู่ใกล้ ๆ
A : เทคนิคการทำงานในตู้ปลอดเชื้อ มีดังนี้
ก่อนใช้
- ตรวจกระแสหมุนเวียนของอากาศเผื่อมีสิ่งกีดขวาง โดยทดสอบว่าอากาศถูกดูดเข้า ด้วยการแกว่งกระดาษทิชชูตรงช่องว่างทางเข้าตู้ แล้วตรวจดูว่ากระดาษทิชชูถูกดูดเข้าไปในตู้หรือไม่
- เช็ดข้างในตู้ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ (เอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ หรือโซเดียมไฮโปคลอไรด์ 05 เปอร์เซ็นต์)
- นำอุปกรณ์ที่ต้องใช้เข้าไปในตู้และรอ 5 นาที เพื่อให้ระบบจ่ายลมทำการชำระพื้นที่ในตู้
ระหว่างใช้
- ควรปฏิบัติงานห่างจากตะแกรงหน้าอย่างน้อย 4 นิ้ว
- ทำงานจาก “สะอาดไปสกปรก”
- หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวเข้า-ออกจากตู้อย่างรวดเร็ว เพื่อจะได้ไม่รบกวนกระแสหมุนเวียนของอากาศ
- ถ้าทำสิ่งใดหกในตู้ ควรเช็ดทันที แต่อย่าเปิดประตูตู้
หลังใช้
- เช็ดอุปกรณ์ที่ใช้แล้วและพื้นที่ภายในตู้ให้สะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
- ปิดไฟและเครื่องเป่าอากาศ (หากไม่จำเป็นต้องเปิดทิ้งไว้)
- เปิดไฟ UV หากไม่มีผู้อื่นทำงานอยู่ใกล้ ๆ